ประชุมโครงการสืบสานฯ โรแมนติค รีสอร์ต แอนด์ สปา เขาใหญ่ นครราชสีมา
ABUS | |
![]() |
|
1. มากกว่าครึ่งของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมคลำก้อนด้วยตนเองจึงมาหาพบแพทย์ 2. NCI (USA) 2003-2008 ผลไม่ลดย Mortality และปี 2012 ออก report ว่า Internal validiyt fair , External validity poor. 3. หน่วยงานที่ยังสนับสนุนในเรื่อง BSE ย ย -ย American Cancer Society BSE คือการให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมย ว่า BSE ย ย -ย Memorial Sloan kettering cancer centerย 4. ปัญหาของ BSE ย ย -ย ต้องตรวจสม่ำเสมอ คือ ตรวจทุกเดือน อย่างถูกต้อง เน้นเพื่อการรู้จักภายในเต้านมเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง จากที่เคยคลำได้ ควรรีบปรึกษาแพทย์ ไม่มีใครรู้การเปลี่ยนแปลงภายในเต้านมดีกว่าตนเอง และไม่ควรคลำแทน 5. โครงการสืบสานลด staging จาก stageสูงให้เหลือ stage 1 ขนาดก้อนไม่เกิน 2 ซม. 6. ข้อมูลจากการ medical audit ของถันยรักษ์ ย ย -ย ก้อนที่คล่ำได้ 15-20% เท่านั้นที่เป็นมะเร็ง ย ย -ย Mammogram อย่างเดียว miss ca 20% ย ย -ย หญิงไทย Entire fat 6.5% ,20.5% ,Denseย 60% Severe dense 13% จึงไม่สามารถ Mammogram only ย ย ย ย -ย Simple Cyst ของเรียบ ย ย ย ย -ย Cystย และมี micro calcification ต้องเจาะดูด ย ย ย ย -ย Cyst ก้อนขอบไม่เรียบ ย ย ย ย -ย ไม่ใช้ Cyst ย ย -ย ถ้ามีการทำ Case finding จะทำพบก้อนมากขึ้น ซึ่งจะทำให้คิวของ Mammogram ยากขึ้น จำเป็นต้องมีเครื่องมืออื่นช่วย จึงนำ US เข้ามาช่วย ย ย -ย ABUS (Autonomic breast ultrasound Screeningย ย ย ย ย ย -ย FDA USA approved CAD ทำให้มีคามหวังว่าจะใช้ ABUS แทน รังสีแพทย์ ย ย ย ย -ย ถ้าเจอก้อนที่พื้นที่ห่างไกล ส่งมาทำ ABUSย แล้วอ่านผล แล้วส่งผลผ่าน digital Files ไปให้รังสีแพทย์ที่ จังหวัดหรือศูนย์ถันยรักษ์ confirm |
|
Cancer Registry in Thailand |
|
![]() |
|
1. Thai Cancer Based (TCB) รพ.ของ สป. แบ่งเป็น 2 ตัวคือ ย ย -ย window Application แล้วส่งข้อมูลจะได้ ข้อมูลทั้งประเทศ ย ถ้าเป็น stand alone จะได้ report ย ย ย ย -ย surviva ย ย ย ย -ย รายงาน 10 อันดับแรก ย ย -ย Web based applicationย คือ เมื่อ upload จะได้ web base application โดยนำข้อมูลมารวม สามารถได้ 10 อันดับโรค 2. ระยะเวลารอคอย สถาบันมะเร็ง Clinical data ,Pathological data, patient status โดย ทำ Ca breast บนฐาน TCB เสร็จแล้ว แต่สถานบริการยังไม่ใช้ TCB ในการทำเบียนมะเร็ง เนื่องจากผู้ปฏิบัติงานไม่พร้อม หรือมีปัญหาเรื่อง hardware หรือ software 3. การแบ่งความรับผิดชอบ โดยเน้นที่การประเมินสถานการณ์การให้บริการของ รพ.สป และให้การดูแลผู้ป่วยมะเร็ง ย ย -ย สถาบันมะเร็งรับผิดชอบ ส่วนกลางและเขต 5 ย ย -ย ศูนย์มะเร็งลำปาง รับผิดชอบเขต 1+2 ตาก ย ย -ย ศูนย์มะเร็งลพบุรี รับผิดชอบเขต 4 (เฉพาะลพบุรี )+2+3 ย ย -ย ศูนย์มะเร็งธัญบุรี รับผิดชอบเขต 4 ย ย -ย ศูนย์มะเร็งชลบุรี รับผิดชอบเขตย 6 ย ย -ย ศูนย์มะเร็งอุดรย รับผิดชอบเขตย 7+8 ย ย -ย ศูนย์มะเร็งอุบล รับผิดชอบเขต 9+10 ย ย -ย ศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ รับผิดชอบเขต 11+12 4. Risk factorsย Genetics ,Age ,sex ,obesity ,hormone ,กำลังมีผู้ทำการศึกษาเรื่องการอดนอนกับ Breast Cancer |
|
M&E |
|
![]() |
|
1. M&E ตามปลายน้ำ เรื่อง ลดระยะเวลารอคอยย ผ่าตัด ,chemo ,ฉายแสง ภายใน 4,6,6 สัปดาห์ ตามลำดับ แต่ไม่ได้ M&E ในส่วนต้นน้ำ 2. ต้องมีระบบ โดยทำแผนแต่ละรายว่า จะได้รับ confirm dx เมื่อไร ผ่าตัดเมื่อไร Chemo เมื่อไร และฉายแสงเมื่อไร |
|
Siriraj Breast Clinic ศ.นพ.พรชัย |
|
![]() |
|
1. To Achieve adequate local tumor control ย ย -ย Intraoperative radio therapy (IORT) อัตราการรอดชีวิตเท่ากับการฉายแบบดั้งเดิม (External radiao therapy (ERT). 2. To determine acurate nodal staging ย ย -ย Molecular detection of nodal metastatic โดยใช้ One step Nucleic acid amplification (OSNA)ย เอาต่อมน้ำเหลืองไปตรวจประมาณ 20-30 นาที แทน Frozen section ซึ่งใช้เวลา 40-60 นาที 3. To minimize breast deformity ย ย -ย Lipo filing ดูดไขมันแล้วปั่นแยก ซึ่งมี Lipogenic stem cell ไปฉีดเข้าไปในพื่นที่เต้ามมที่เป็นบุ๋ม ฉีดได้มากถึง 300 cc ย ย -ย autologous FDFG (graft) โดยเอา fat ที่หน้าท้องไปแปะยังเต้านมที่ตัดไปบางส่วน ย ย -ย New technique เช่น skin sparing and NAC sparing mastectomy ย ย -ย Free muscle sparing TRAM flap and DIEP flap ย ย -ย Oncoplastic breast conservation ย ย -ย Correctve surgery and symmtry surgery. 4. Breast cancer treatment outcome Siriraj vs UK (Predict model)ย ย ย ย -ย 5 year survival 91.8 % สูงกว่า UK 89.6% ย ย -ย 10 year survival 85.3% สูงกว่า UK 79.1% 5. สรุป ย ย -ย แนวทางการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมตามความเสี่ยงของแต่ละบุคคล (Risk base personalized screening) เป็นแนวทางที่เหมาะที่สุด ย ย -ย ในประเทศที่มีข้อจำกัดทางด้านทรัพยากร ควรส่งเสริมให้มีแนวทางลดขนาดและระยะของมะเร็งเต้านมที่มาพบแพทย์ (Clinical downstaging program) |
|
สรุป การดำเนินการของย 21 จังหวัด | |
1. จัวหวัดพังงาย ทำอำเภอเดียวที่อำเภอตะกั่วป่า ขั้นตอนการดำเนินงาน ย ย -ย ชี้แจง รพ.สต.ในอำเภอ ย ย -ย มอบสมุดบันทึกการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ย ย -ย อบรม อสม.เชี่ยวชาญ เพื่อไปสอนหญิงในพื้นที่ดูแล ย ย -ย สอนในเรื่องระบบการบันทึกข้อมูล ย ย -ย ปี 2559 ขยายในทุกอำเภอในจังหวัดนำร่องย โดยอำเภอที่ดำเนินการจะได้ ย ย ย ย ย - ได้รับการสนับสนุนสื่อ และสมุดบันทึกการตรวจเต้านมด้วยตนเองย และ Portable US ย ย ย ย ย -ย ส่งข้อมูล register มาแล้ว 120,000 คน ย ย ย ย ย -ย นำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการวางแผนและประเมินผล เพื่อประกาศว่าจะทำทั้งจังหวัด ย ย -ย What next ย ย ย ย -ย การ key ข้อมูล เมื่อหลังพบมะเร็ง ย ย ย ย -ย รังสีแพทย์ รพ.พังงาน ทำการสอนเจ้าหน้าที่การใช้ US ย ย -ย ปัญหา ย ย ย ย -ย การควบคุมกำกับ นั้นใช้ระบบข้อมูล ซึ่งยังมีความแตกต่างของฐานข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ย ย ย ย -ย การบูรณาโครงการต่างๆที่เกี่ยวกับมะเร็งเต้านม 2. จังหวัดกำแพงเพชร ย ย -ย ประชากร 7 แสน มะเร็งที่พบบ่อยได้แก่ มะเร็งเต้านม ตับ ลำไส้ ปอด ปากมดลูก ย ย -ย ปี 2555 เริ่ม 1 อำเภอที่อำเภอเมือง ปี 2560 ทำทุกอำเภอ ได้ส่ง Pop register ไปหมดแล้ว จำนวน 150,000 ราย ย ย -ย ได้รับเครื่อง US เมื่อ 25 กค.59ย โดย นพ.สสจ. มารับเครื่องเอง และท่านได้ติดตามการใช้เครื่อง US โดยนำเครื่องไปวางที่ย รพ.กำแพง โดยมอบให้ประธาน Service plan มะเร็ง ย ย -ย ปีหน้า จะไปอบรม เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวกับการใช้ US 3. จังหวัดลพบุรี ย ย -ย ปี 2555 ที่อำเภอท่าวุ้ง ประชากรเป้าหมาย 8025 คน เป็นมะเร็งเต้านม 2 ราย ย ย -ย ปีต่อไปย ดำเนินการต่อเนื่องจนกลายเป็น routineย ยิ่งมีสมุดบันทึก และการรณรงค์ ทำให้พบก้อนผิดปกติมากขึ้น ย ย -ย ปี 2559 นั้นขยายทุกอำเภอย โดยอำเภอท่าวุ้งจะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับ 10ย อำเภอย ทำการอบรมโปรแกรมทั้ง 10 อำเภอ แล้ว ได้รับการตอบรับอย่างดีย ส่งข้อมูล Registry หมดแล้ว และแกนนำสตรีเป็นแกนกลางที่สำคัญในการขับเคลื่อน โดยผู้นำท้องถิ่น นายกเหล่ากาชาด เข้ามามีส่วนร่วม และกำหนดกลวิธีในการดำเนินงานทุกอำเภอ ย ย -ย สรุปปัจจัยสำเร็จการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ย ย -ย ปัญหาคือ กลุ่มหญิงโรงงานที่ตามหาตัวยาก แต่ถ้าเกาะติด ก็สามารถเข้าสู่กลุ่มเป้าหมายได้ 4. สุราษฎร์ธานี ย ย -ย กลุ่มเป้าหมาย 258,650 คนย แบ่งเป็น ย ย ย ย -ย phase แรก อำเภอนำร่อง คือ บ้านนาเดิม และไขขยา ทำใน 2 เดือนแรก ย ย ย ย -ย Phase ที่ 2 ขยายผลให้ทุกจังหวัด ย ย -ย การขยายผล เริ่ม จาก รพ.สต. เพื่อขยายผลไปสู่ชุมชนต่างๆ ย ย -ย นำเสนอความก้าวหน้าไปที่ คณะกรรมการวางแผนและประเมินผลระดับจังหวัด ย ย -ย ในด้านผู้ป่วยนั้น รพ.สุราฎร์ เป็น focal point ในการใช้ USย การส่งต่อ และการจัดทำ fast track 5. Workshop การ Improve ข้อมูล ย ย -ย การ Register ทำการตรวจสอบข้อมูลของส่วนบริการเพื่อให้สามารถติดตามได้ และไม่เป็นมะเร็งเต้านมย โดยการส่งข้อมูลประกอบด้วย ย ย ย ย -ย ส่ง Files โดยตรงไปยัง Server โครงการ ย ย ย ย -ย ให้ สสอ.ไปผู้รวมและส่ง ย ย ย ย -ย ให้ สสจ.เป็นผู้รวบและส่ง ย ย -ย Exam นั้นการส่งเหมือน register ย ย -ย Breast cancer แบ่งเป็น 3 วิธี ย ย ย ย -ย รพศ/รพท. เป็นคน Key แล้ว Share ข้อมูล ย ย ย ย -ย รพช/รพย สต เป็นคน Key โดยมีระบบในการส่ง BCI ไปยัง รพช. เพื่อให้ย รพช. Key ย ย -ย การ verify ความถูกต้อง ย ย ย ย -ย ในส่วนสมุดบันทึกย นั้น เน้นดูการบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพว่า BSE สม่ำเสมอหรือไม่ ย ย ย ย -ย การเก็บทะเบียนบันทึกผู้ป่วยมะเร็งเต้านม สำเนาไปที่ สสจ. หรือจะถ่ายรูป Upload ย ย -ย การสนับสนุน ย ย ย ย -ย Model ย ย ย ย -ย สมุดบันทึกการตรวจเต้านม เช่่น 10% ของกลุ่มเป้าหมาย 6. ข้อเสนอแนะ ย ย -ย การนำเสนอให้ ผู้บริหารจังหวัด ได้รับทราบ และเป็นผลักดันย ประสานทรัพยากร และติดตามกำกับ ย ย -ย กำแพงเพชร ไปน่ามีปัญหาย ถ้า สสจ.ไปรับเครื่อง ท่านจะสามารถที่จะประสานทรัพยากรในจังหวัดได้ และควบคุมกำกับ และจังหวัดพังงา น่าจะให้ สสจ. เป็นผู้ประสาน รังสีแพทย์ มากกว่าจะประสานเอง ย ย -ย การประสานเครือข่าย |
|
เอกสารอ้างอิง |
|
1.ย Breast Cancer Data Improvement นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุลย ย เอกสารในรูป Power Point 2.ย สรุปผลการครอบคลุมการตรวจเต้านมด้วยตนเองสม่ำเสมอ และ จำนวนผู้ป่วยมะเร็งเต้านม 2556-2559 3.ย ประสิทธิผลการตรวจเต้นมด้วยตนเองอย่างสม่ำร่วมกับการใช้สมุดบันทึกการตรวจเต้านมด้วยตนเองในการคัดกรองมะเร็งเต้านมในประเทศไทย นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 4.ย แนวทางการดำเนินงานโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่าต้านภัยมะเร็งเต้านม 5. สมุุดและแบบฟอร์ม ย ย -ย สมุดบันทึกการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ย ย -ย Brouchure การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ย ย -ย แบบฟอร์มการบันทึกผู้ป่วยมะเร็งเต้านม |
|
QR Code เพื่อ Link เข้าสู่ Page การประชุมครั้งนี้ |
|
![]() |
|
ติดตั้ง QR Code Reader บน Android | |
รูปกิจกรรม |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
ย |