ประชุมโครงการสืบสานพระราขปณิธานสมเด็จย่าต้านภัยมะเร็งเต้านม Phase 2
1. เป้าประสงต์ของโครงการ
2. Key Activities ของการดำเนินการโครงการ
3. การดำเนินการของระบบข้อมูล
4. แบบฟอร์มที่ใช้
5.ย ผู้รับผิดชอบ/ประสานงาน/ดูงาน
6. Definition ของศัพท์ที่เกี่ยวกับการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
7. เอกสารอ้างอิง
8. ภาพกิจกรรม
______________________________________
เป้าประสงค์ของโครงการย
1. ด้านกระบวนการ
ย ย - อัตราการตรวจเต้านมด้วยตนเองไม่ต่ำกว่า 80% ย ย - หญิงที่ตรวจพบความผิดปกติหรือสงสัยผิดปกติ ที่เต้านม ได้รับการส่งต่อร้อยละ 100
2. ด้าน Output / Outcome
ย ย - พบก้อนขนาดไม่เกิน 2 ซม.เพิ่มขึ้น
ย ย - พบระยะแรก (Stage 0,1,2) เพิ่มขึ้น
ย ย - อัตราการรอดชีวิตสูงขึ้น
________________________________________
Key Activities ของโครงการ
1. รณรงค์สร้างความตระหนักต่อสุขภาพเต้านม (Breast Health Awareness หรือ BHA )
ย ย - ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายอย่างน้อยดังต่อไปนี้
ย ย - ผู้บริหารและผู้กำหนดนโยบายในระดับจังหวัด
ย ย - เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ย ย - อสม.
ย ย - ประชาชนทั้วไป
2. เนื้อหาที่จะสื่อสารให้กับแต่ละกลุ่มเป้าหมาย
ย ย - มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในหญิงไทยและหญิงทั่วโลก มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามการพัฒนาประเทศและอายุไขเฉลี่ยของประชากร
ย ย - เนื่องจากการหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงทำได้ยาก แนวทางการควบคุมที่ทั่วโลกใช้คือ วินิจฉัยแต่แรกเพื่อรีบรักษา เพราะการรักษาในระยะแรก อัตราการรอดชีวิตใน 5 ปี สูงมากเกือบร้อยละ 100
ย ย - ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ต้องร่วมกันรณรรงค์เพื่อสร้างความตระหนักจนผู้หญิงอายุ 30 ปีขึ้นไปเกิดพฤติกรรม " ดูและคลำเต้านมของตนเองเป็นประจำเพื่อให้ทราบว่าปกติที่เคยเป็นไปอย่างไร ถ้าดูหรือคลำพบการเปลี่ยนแปลงจากเดิม ให้ไปสถานบริการสาธารณสุขที่ใกล้ที่สุดเพื่อไปรับการตรวจจากเจ้าหน้าที่ "
2. รวมพลังทุกภาคส่วนในระดับจังหวัดเข้ามามีส่วนร่วมในการรณรงค์ โดยใช้ทรัพยากรภายในจังหวัด (Collaboration Effort)
3. เสริมพลังทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง (Empower and Build Capacity) เพื่อให้หญิงกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักในสุขภาพเต้านมจนเกิดพฤติกรรม ตรวจเต้านมด้วยตนเอง (BSE) โดย
ย ย - อบรมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้สามารถ CBE ได้ (ครู ก.)
ย ย - เจ้าหน้าที่สาธารณสุข (ครู ก) อบรม อสม.ให้สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้
ย ย - อสม.สอน/ฝึกทักษะหญิงในละแวกบ้านให้สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเอง และสามารถบันทึกในสมุดตรวจเต้านมด้วยตนเอง
ย ย - อบรม รพช. ให้สามารถทำ Targeted Breast Ultrasound ได้ (option)
4. พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขด่านหน้าในการคัดกรองมะเร็งเต้านม (Optimized Primary care )
ย ย - Primary Health care โดยใช้ อสม.และ รพ.สต.เป็นฐานในการสร้างความตระหนักต่อสุขภาพเต้านม จนเกิดพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองเพื่อทราบความปกติของเต้านม และเมื่อพบสิ่งที่แตกต่างจากที่เคยตรวจ ให้ไปสถานบริการสาธารณสุขที่ใกล้บ้านเพื่อให้เจ้าหน้าที่ทำการตรวจเต้านม (CBE)
ย ย - สถานบริการสาธารณสุขที่เป็นด่านหน้า ได้แก่ รพ.สต ทำการ Clinical Breast Exam (CBE) พบความผิดปกติให้ทำการย ส่งต่อ
5. พัฒนาระบบการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยและรักษามะเร็งเต้านม (Optimized Referal System) สถานบริการที่รับการส่งต่อให้ ทำการตรวจคัดกรองในะดับที่สูงขึ้น จนถึงขั้นตอนการวินิจฉัย และการรักษา ดังนี้ (Mixed Method of early Detectionand promp treatment)
ย ย - Targeted Breast Ultrasound ?
ย ย - Mammogram +/- Ultrasound
ย ย - Tissue biopsy
ย ย - Early Diagnosis and Prompt Treatment (เร่งการวินิจฉัย และรีบรักษา)
6. กำกับติดตาม โดยการรวบรวม วิเคราะห์ และคืนข้อมูลเพื่อการปรับปรุงระบบอย่างต่อเนื่องจนบรรลุ เป้าประสงค์ของโครงการ
________________________________________
การดำเนินการในด้านระบบข้อมูล
1. Register หญิง 30-70 ปี ที่อยู่ในพื้นที่จริง (Area Type 1,3) และไม่ได้เป็นมะเร็งเต้านมในช่วง Register ผ่านโปรแกรม JHCIS หรือ HosXP ทำครั้งเตียว โดยโปรแกรมทั้ง 2 จะทำรายการให้ส่งข้อมูลไปยัง Server ของโครงการ
2. จังหวัดติดตามกำกับการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (BSE) ตามแบบ Form " BSE Summary 1-3 " โดยเป็นการเรียกเก็บย เหมือนระบบรายงานตามปกติ โดย
ย ย - สำนักส่งเสริมสุขภาพขอข้อมูลไปยังจังหวัดที่ร่วมโครงการ
ย ย - สสจ.ขอข้อมูลไปยังระดับอำเภอ (รพช/รพท/รพศ และ รพ.สต) เพื่อให้กรอกแบบฟอร์มตาม BSE Summary 1
ย ย - ระดับอำเภอ (สสอ) รวบรวมข้อมูลเพื่อนำส่ง สสจ.
ย ย - สสจ.ทำการสรุปจาก รายอำเภอ เป็นรายจังหวัดตามแบบฟอร์ม BSE Summary 2 เพื่อส่ง สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรม อนามัย
ย ย - สำนักส่งเสริมสรุปข้อมูลรายจังหวัด เพื่อให้ทราบภาพรวมของระดับภาค/ประเทศ ตามแบบฟอร์ม BSE Summary 3
3. หน่วยบริการที่พบมะเร็งเต้านมรายใหม่(วินิจฉัย หลังจาก Register)
ย ย - บันทึกข้อ ลงในแบบฟอร์ม BCI ก่อน เก็บไว้ที่หน้างานแทนเวชระเบีบน
ย ย - รวบรวมบันทึกจาก BCI ไป Key เข้า Web Site www.hpc.go.th/bse (หน่วยบริการนั้น Key เอง หรือส่ง สสจ.เพื่อมอบ หมายผู้รับผิดชอบ Key ข้อมูลผ่าน Web)
ย ย - Shared ข้อมูลไปยังหน่วยบริการอื่นๆได้ เพือความต่อเนื่องของการให้บริการ (Continuity care)
ย ย - ข้อมูล the must ที่ต้องบันทึกได้แก่
ย ย ย ย - เลข 13 หลัก
ย ย ย ย - การวินิจฉัย
ย ย ย ย - วันเดือนปีที่วินิจฉัย
ย ย ย ย - ขนาดก้อนวัดจาก Tissue Biopsy
ย ย ย ย - Staging ระบุ T , N , M และ staging
________________________________________
Form
1. Form BSE Summary 1-3
2. Form BCI - ใหม่ (BCI_20170714)
3. คู่มือการส่งข้อมูลจาก JHCIS และ HosXP เพื่อ register
4. คู่มือการบันทึกผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
______________________________________
ผูัรับผิดชอบย
1. ประธาน/รองประธานคณะทำงาน นพ.วัลลภ ไทยเหนือ / นพ.ธรรมนิตย์ อังศุสิงห์
2. ผู้รับผิดชอบด้านวิชาการ มูลนิธิถันยรักษ์
3. ผู้รับผิดชอบระบบข้อมูลของโครงการ นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล
4. ผู้ประสานงานโครงการ
ย ย - ระดับประเทศ สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
ย ย - ระดับเขต ศูนย์อนามัยที่รับผิดชอบของแต่ละเขต
ย ย - ระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดที่ร่วมโครงการ
ย ย - ระดับอำเภอ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ของจังหวัดที่ร่วมโครงการ
5. จังหวัดที่ดำเนินการใน phase แรกที่สามารถให้คำปรีกษาหรือดูงาน
ย ย -ย ภาคเหนือ จังหวัดเชียงราย
ย ย -ย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัด นครราชสีมา และ สกลนคร
ย ย -ย ภาคตะวันออก จังหวัดจันทบุรี
ย ย -ย ภาคใต้ จังหวัด สุราษฎร์ธานี
________________________________________
นิยามศัพท์ย
1. Breast Self Awareness คือ การที่สตรีทำความคุ้นเคยกับเต้านมตนเองและรายงานผลการเปลี่ยนแปลงให้กับเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขที่อยู่ใกล้บ้านย ผู้หญิงต้องทราบปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดมะเร็งเต้านม ทราบความหนาแน่นของเนื้อเต้านมของ ตนเองย (เนื่องจากถ้าเนื้อเต้านมมีความหนาแน่น (dense breast) โอกาสที่จะตรวจคัดกรองด้วยแมมโมแกรมแล้วให้ผลลบ ปลอม หรือ False negative สูง )ย และเข้าใจแนวทางการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็ง เต้านม (NCCN)
2. Breast Self Awareness คือ การทำความคุ้นเคยกับเต้านมตนเองเพื่อให้ทราบว่าเต้านมปกติเป็นอย่างไร สตรีทุกคนต้องมี ส่วนร่วมในการสร้างความตระหนักต่อเต้านมตนเอง เพราะการกระทำดังกล่าวจะสามารถพบการเปลี่ยนแปลงของเต้านม ตนเอง และเมื่อพบการเปลี่ยนแปลง เช่นพบก้อน หรือมีของเหลวออกจากหัวนมให้รีบไปพบแพทย์ย
Breast self-awareness means being familiar with how your breasts normally look and feel. All people should take part in breast self-awareness. This way, you can notice any changes in your breasts. If you notice any changes, such as a new lump or discharge from your nipple, call your doctor. (Memorial Slone Kettering Cancer Center)
3. Breast Self Examination (BSE)
ย ย -ย BSE เป็นการตรวจเต้านมของตนเองอย่างสม่ำเสมอ เพื่อที่จะค้นหาก้อน หรือการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมของเต้านม เพื่อ ที่จะนำไปสู่การตรวจเพิ่มเติมเพื่อการยืนยัน ที่เป็นส่วนหนึ่งของการคัดกรองมะเร็งเต้านมย
(Breast self-exam is the regular examination of one's own breasts to detect lumps or other changes that may need to be further evaluated as part of screening for breast cancer .( www.encyclopedia.com)
ย ย -ย BSE เป็นวิธีการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอ เพื่อมองหาการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมของเต้านมย สามารถทำ BSE ได้ทุกเดือน หรือเป็นบางโอกาส หรือไม่ต้องทำเลยย กรณีที่เลือกที่จะไม่ทำ BSE ท่านต้องทราบว่าเต้านมของท่าน ปกติดีทั้งจากการดูและการสัมผัส
(BSE is a way to examine your breast on a regular basis to look for any changes.You can do BSE once a month,occasionally or not at all .If you choose not do a BSE, You should still make sure you know how your breasts normally look and feel. (Mamorial Slone Kettering Cancer Center)
4. Breast Health Awarenessย เป็นความหมายรวมๆที่กล่าวถึง Breast Awareness โดยหมายรวมถึง Breast Cancer Awareness (เน้น Breastย Awareness Education ทั้ง Public and Personal Education)ย และ Breast Self Awareness (เน้น BSE เพื่อสร้างความคุ้นเคยกับเต้านมปกติย ย ถ้าตรวจพบมีความแตกต่างจากเดิม ให้ไปสถานบริการ สาธารณสุขที่อยู่ใกล้บ้าน) กลุ่มเป้าหมายที่จะสร้าง Breast Health Awareness ได้ทั้งเพศชายและหญิงย ทั้ง ผู้ป่วย ประชาชน ชุมชน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขย ในส่วนของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขย Breast Awareness Education นอกจาก ในเรื่อง อาการ /อาการแสดง แล้ว ยังต้องรวมถึงความรู้ในการให้คำปรึกษา (Counseling)ย การวินิจฉัยและรักษามะเร็งเต้า นมย และต้องมี Awareness ในเรื่องการจัดบริการ Breast Care เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงระบบบริการย ระบบส่ง ต่อ ระบบข้อมูล และการแก้ปัญหาอุปสรรคเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ และลดระยะเวลารอคอย ด้วย
5. Breast cancer awareness คือความพยามยามในการสร้างความตระหนักและลดการถูกตีตราจากโรคมะเร็งเต้านมด้วย การย ให้การศึกษาเกี่ยวกับอาการและการรักษามะเร็งเต้านมย โดยเชื่อว่า ความรู้ที่เพิ่มขึ้นจะนำไปสู่การค้นหามะเร็งเต้านม แต่เริ่มแรกย ย ซึ่งจะสัมพันธ์กับอัตราการรอดชีวิตที่เพิ่มขึ้น การรักษามะเร็งระยะแรกจะเป็นการรักษาเชื่อถือได้และมีโอกาส หายขาดย
Breast Cancer Awarness is an effort to raise awareness and reduce the stigma of breast cancer through education on symptoms and treatment. Supporters hope that greater knowledge will lead to earlier detection of breast cancer, which is associated with higher long-term survival rates, and that money raised for breast cancer will produce a reliable, permanent cure. From www.definition.net)
6. Breast cancer advocacyย ความพยายามในการสร้างความตระหนัก ถือเป็นส่วนหนึ่งของ Health Advocacyย และ Breast cancer Advocates ยังทำหน้าที่ระดมทุนและ Lobby เพื่อให้เกิด บริการที่ดีขึ้นย ความรู้มากขึ้น และเสริมพลังให้ แก่ผู้ป่วย รวมถึงการรณรงค์ให้ความรู้หรือให้บริการโดยไม่คิดค่ารักษาหรือค่าบริการที่ต่ำย ย ๖Breast Cancer Advocay is awareness efforts are a type of health advocacy. Breast cancer advocates raise funds and lobby for better care, more knowledge, and more patient empowerment. They may conduct educational campaigns or provide free or low-cost services. From www.definition.net)
7. Breast cancer culture, หรือบางทีเรียกว่า Pink ribbon cultureย คือวัฒนธรรมที่ทำให้เกิดการเจริญงอกเงยของ Breast cancer advocate การเคลื่อนไหวทางสังคมเป็นตัวสนับสนุนให้เกิด Breast cancer culture และการขยายขอบเขตของ การเคลื่อนไหวทางสังคมจากการเคลื่อนไหวในเรื่องมะเร็งเต้านม เป็นการเคลื่อนไหวเพื่อสุขภาพของสตรี (Women health) Breast Cancer Culture sometimes called pink ribbon culture, is the cultural outgrowth of breast cancer advocacy, the social movement that supports it, and the larger women's health movement . From www.definition.net)
________________________________________
เอกสารอ้างอิง
1. ระบบข้อมูลของโครงการสืบสาน (นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล)
2. สรุปโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่าต้านภัยมะเร็งเต้านมปีงบประมาณ 2556-2560 , Power Point
3. ผลของการรณรงค์ระดับจังหวัดเพื่อสร้างความตระหนักในสุขภาพเต้านม ต่อการตรวจพบมะเร็งระยะเริ่มแรก (Effect of provincial campaign for early breast cancer detection) นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุลย
ย ย -ย Abstractย
ย ย -ย Full paper
________________________________________
ภาพกิจกรรม
1. การประชุมที่ Golden City ระยอง
ย
ย 
osmrtnice
osmrtnic livno
smrtovnice
smrtovnice visoko
smrtovnice sarajevo
smrtovnice bihac