ประชุมโครงการสืบสานฯ เขต 1 ที่ รพ.ลำปาง
![]() |
|
วาระการประชุม |
|
1. สถานการณ์มะเร็งเต้านมและแนวทางการดำเนินงานตามโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่าต้านภัยมะเร็งเต้านม นพ.วัลลภ ไทยเหนือ 2. บทบาทของมูลนิธิถันยรักษ์ในการต้านภัยมะเร็งเต้านมย นพ.เฉลิมเดช กรรณวัฒน์ 3. การดำเนินการโครงการสืบสานฯ ของจังหวัดเชียงรายย สสจ.เชียงราย 4. ความรู้เรื่องมะเร็งเต้านม การวินิจฉัย และการรักษา โดย นายแพทย์วิวัฒน์ย ลีวิริยะพันธุ์ ย ศัลยแพทย์ด้านมะเร็งวิทยา โรงพยาบาลลำปาง 5. รูปแบบการสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง สาธิตการตรวจเต้านมด้วยตนเอง โดย ทีมวิทยากร โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ และย ทีมวิทยากร โรงพยาบาลลำปาง 6.ย การจัดการข้อมูลและการบันทึกข้อมูลในโปรแกรมถันยรักษ์ โดย นายแพทย์ชลทิศย อุไรฤกษ์กุลย ผู้อำนวยการศูนย์อนามัย ที่ 5 ราชบุรี 7. การส่งข้อมูลจาก JHCIS มาที่ server ของโครงการสืบสานพระราชปณิธานต้านภัยมะเร็งเต้านม โดย คุณ สัมฤทธิ์ย สุขทวี นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการย ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 8. บทบาทของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในการพัฒนางานในระดับพื้นที่ โดย นางเบญญาภาย ย มุฆชานันท์ ย ย นักวิชาการสาธารณสุชชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย |
|
replika รณrรกkย rolex replikaย replika รณra |
|
ผลสรุปจากการประชุม & อภิปรายทั่วไป |
|
1. จะเริ่มดำเนินการ Register ตั้งแต่ 1 ต.ค.59 เป็นต้นไป เพื่อให้มีเวลาเตรียมตัวย โดยจะปิดการ Register ในวันที่ 31 ตุลาคม 2559 โดย Case ที่ register คือหญิงอายุอายุ 30-70 ปี ที่ไม่ได้เป็นมะเร็งเต้านมก่อนวันที่ 1 ต.ค.59 2. การดำเนินการในพื้นที่ได้แก่ การอบรม อสม.เชี่ยวชาญ การให้ อสม.เชี่ยวชาญไปอบรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองให้หญิงในบ้านที่รับผิดชอบ การยืนยันการตรวจเต้านมนมด้วยตนเองโดยย อสม. ให้ดำเนินการในพื้นที่ สำหรับการบันทึกข้อมูลเพื่อยืนยันผลการตรวจเต้านมด้วยตนเองโดย อสม.นั้นให้เป็นทางเลือก (option) จะทำหรือไม่ขึ้นกับความพร้อมของแต่ละพื้นที่ 3. เมื่อพบมะเร็งเต้านม ให้ทำการบันทึก โดยถ้า รพศ/รพท.ทำการบันทึกแล้วย ให้ share ไปยัง รพช. และ รพช.ให้ share ไปยัง รพ.สต.ต่อไป เพื่อให้พื้นที่สามารถที่รู้ข้อมูลของผู้ป่วย |